จำนวนคนอ่านล่าสุด 9473 คน

陛下寺钟声特殊类型是建于2411。พระสมเด็จ วัดระฆัง พิมพ์พิเศษ สร้างปี พ.ศ. 2411Majesty temple bell After Kanok peonies Gable hall bell Khositaram Woramahawihan a large hall. Currently


陛下寺钟声特殊类型是建于2411。พระสมเด็จ วัดระฆัง พิมพ์พิเศษ สร้างปี พ.ศ. 2411Majesty temple bell  After Kanok peonies Gable hall bell Khositaram Woramahawihan a large hall. Currently

陛下寺钟声特殊类型是建于2411。พระสมเด็จ วัดระฆัง พิมพ์พิเศษ สร้างปี พ.ศ. 2411Majesty temple bell  After Kanok peonies Gable hall bell Khositaram Woramahawihan a large hall. Currently

陛下寺钟声特殊类型是建于2411。พระสมเด็จ วัดระฆัง พิมพ์พิเศษ สร้างปี พ.ศ. 2411Majesty temple bell  After Kanok peonies Gable hall bell Khositaram Woramahawihan a large hall. Currently


รายละเอียด :

พระสมเด็จ0003

陛下寺钟声特殊类型是建于2411。

***พระสมเด็จเนื้อปูนเพชรยอดนิยมหลังลายดอกไม้ ****พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่โรยผงตะไบทองคำหลังดอกโบว์ตั๋น Majesty temple bell  After Kanok peonies Gable hall bell Khositaram Woramahawihan a large hall. Currently     

***พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์พิเศษสำหรับคนพิเศษ สร้างปี พ.ศ. 2411 ร่วมเฉลิมฉลองการขึ้นครองราชย์ของรัชกาลที่ 5 โรยผงตะไบทองคำด้านหน้า หลังลายดอกโบตั๋น หลังลายเครือเถาฯ เนื้อเดียวกับพระสมเด็จหลังท้าวมหาพรหมชินนะปัญชะระ ช่างสมัยนั้นใช้น้ำยารักษาเนื้อไม้เคลือบองค์พระไว้ทั้งด้านหน้าและหลัง ด้านหน้ามีหลุดร่อนไปหมดก็มีบางองค์เห็นคราบสีน้ำตาลดำติดอยู่ ด้านหลังที่มีคราบน้ำยารักษาเนื้อไม้อยู่บ้างทำให้ลวดลายเด่นขึ้นเหมือนไม้แกะลายส่วนเด่น บางองค์มีลายละเอียดเล็กๆน้อยๆบ่งบอกถึงฝีมืออันปราณีตของช่างหลวง

*****ดอกโบตั๋น (Peony) ในภาษาจีนเรียกว่า “หมู่ตัน” (牡丹) ส่วนภาษาญี่ปุ่นอ่านว่า “โบตัง” (Botan) เป็นดอกไม้ที่มีคุณค่าสูงยิ่งในวัฒนธรรมของจีน ทั้งรูปร่างสวยงาม สีสันสดใส และมีกลิ่นหอมรัญจวน ในประเทศจีนนั้นยังเรียกดอกโบตั๋นว่า “富贵花” หรือดอกไม้แห่งความมั่งคั่งร่ำรวยด้วย

บทความจาก ธรรมมณีแห่งเสน่ห์ 

29 กันยายน เวลา 14:43 น. · 

พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่ ชายจีวรบาง เกศทะลุซุ้ม หลังลายกนกเครือเถาดอกโบตั๋น 
หน้าบันศาลาการเปรียญวัดระฆังโฆสิตาราม วรมหาวิหาร เป็นศาลาการเปรียญที่มีขนาดใหญ่ ปัจจุบันไม่ได้เปิดให้เข้าชม ศาลาการเปรียญ กว้าง ๑๖.๖๐ เมตร ยาว ๔๐.๘๐ เมตร สร้าง ในสมัยรัชกาลที่ ๓ เป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก ทรงไทย ลวดลายหน้าบันสวยงาม
กับ 
หน้าบันลายกนกดอกโบตั่นด้านหน้าพระอุโบสถวัดราชโอรสาราม (ลายกนกดอกโบตั่นซุ้มประตูโบสถ์วิหาร)
ดอกโบตั๋นอยู่บนสุด หมายถึง ความมั่งคั่ง
สัญลักษณ์และการใช้ ดอกโบตั๋นเป็นดอกไม้ที่นิยมใช้ในงานศิลปะมายาวนาน และหนึ่งในสัญลักษณ์ประจำชาติของจีน โดยถือเป็นดอกไม้แห่งจักรพรรดิและความร่ำรวย กับนิยมใช้ในเชิงสัญลักษณ์ในศิลปะจีนอีกด้วย เมื่อ ค.ศ.1903 ราชวงศ์ชิงประกาศให้โบตั๋นเป็นดอกไม้ประจำชาติ ปัจจุบันนี้ไต้หวันใช้ดอกเหมยเป็นดอกไม้ประจำชาติ ขณะที่สาธารณรัฐประชาชนจีนไม่ได้ใช้เป็นดอกไม้ประจำชาติตามกฎหมายอีกแล้ว และต่อมาเมื่อปี 1994 มีการเสนอให้ใช้ดอกโบตั๋นเป็นดอกไม้ประจำชาติอีก โดยการทำประชามติ แต่ก็ไม่ได้รับการยอมรับ กระทั่ง ค.ศ. 2003 มีการเสนอดังกล่าวอีกครึ่งหนึ่ง และยังไม่มีการเลือกใช้ดอกโบตั๋นอีกเช่นกัน
เมืองลั่วหยาง เมืองหลวงเก่าที่มีชื่อเสียงของจีน มีชื่อเสียงในฐานะศูนย์กลางการปลูกดอกโบตั๋นที่สำคัญแห่งหนึ่ง ในประวัติศาสตร์จีน มักจะยกย่องโบตั๋นจากลั่วหยางว่างดงามที่สุดในแผ่นดิน ปัจจุบันยังมีการจัดนิทรรศการและการแสดงดอกโบตั๋นในเมืองนี้ปีละนับสิบๆ ครั้ง
โบตั๋นนิยมปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ เพราะมีดอกสวยงามและใหญ่มาก ทั้งยังมีกลิ่นหอมด้วย
พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่ ชายจีวรบาง หลังลายกนกดอกโบตั๋น เนื้อสีน้ำตาลไหม้ ผิวมะกอกสุก 
ซึ่งมีส่วนผสมของผงใบลานไหม้ และเกสร ๑o๘ จำนวนมาก ทำขึ้นครั้งเดียวขณะเป็นพระราชปัญญาภรณ์
เนื้อพระสมเด็จ หมายถึงส่วนประกอบหลัก และสีขององค์พระ (นอกเหนือจากผงวิเศษทั้ง ๕ และผงปูนเปลือกหอยเผา ที่ต้องมีทุกองค์)
พระสมเด็จที่มีความงดงาม และเป็นที่นิยมมากที่สุด เป็นพิมพ์ที่แกะโดยหลวงวิจารเจียรนัย ซึ่งเป็นช่างทองวังหลวง 
จัดสร้างถวาย เริ่มต้นจากปี พ.ศ. 2408 เริ่มแรกมี 2 พิมพ์ (สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นพิมพ์ใหญ่) 
ช่างสมัยนั้นใช้น้ำยารักษาเนื้อไม้เคลือบองค์พระไว้ทั้งด้านหน้าและหลัง ด้านหน้ามีหลุดร่อนไปหมดก็มีบางองค์เห็นคราบสีน้ำตาลดำติดอยู่ ด้านหลังที่มีคราบน้ำยารักษาเนื้อไม้อยู่บ้างทำให้ลวดลายเด่นขึ้นเหมือนไม้แกะลายส่วนเด่น บางองค์มีลายละเอียดเล็กๆน้อยๆบ่งบอกถึงฝีมืออันปราณีตของช่างหลวง พระชุดนี้พลังพุทธานุภาพ คนมีบุญอย่างเดียวไม่พอต้องมีบารมีด้วยจึงจะได้ครอบครอง

“วัดราชโอรสาราม ราชวรวิหาร” 
พระอารามหลวง ชั้นเอก วัดประจำรัชกาลที่ ๓
วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร เป็นวัดเก่าแก่เดิมชื่อวัดจอมทอง เป็นวัดที่มีมาก่อนการสร้างกรุงเทพมหานคร พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ (ต่อมาคือ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว) ทรงสถาปนาวัดจอมทองขึ้นใหม่ทั้งพระอาราม เนื่องจากเมื่อครั้งที่ทรงยกทัพไปสกัดทัพพม่าที่ด่านพระเจดีย์สามองค์ กาญจนบุรีใน พ.ศ. 2363 เมื่อกระบวนทัพเรือมาถึงวัดจอมทอง ฝั่งธนบุรีทรงหยุดพักและทำพิธีเบิกโขลนทวารตามตำราพิชัยสงคราม พร้อมทรงอธิษฐานขอให้การไปราชการทัพครั้งนี้ได้ชัยชนะ แต่ปรากฏว่าไม่มีทัพพม่ายกเข้ามา เมื่อยกทัพกลับ พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดจอมทองใหม่และถวายเป็นพระอารามหลวง ได้รับพระราชทานนามใหม่ว่าวัดราชโอรส ซึ่งหมายถึง พระราชโอรสคือ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ 
วัดประจำรัชกาลที่ ๑ ถึง ๓...วัดเก่า ทำใหม่
สำหรับ วัดประจำรัชกาลที่ ๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว 
วัดประจำรัชกาลที่ ๓ คือ “วัดราชโอรสาราม ราชวรวิหาร” 
หรือ “วัดราชโอรสาราม” หรือ “วัดราชโอรส” 
วัดราชโอรสาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร 
ซึ่งเป็นวัดเก่าแก่มีมาก่อนสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ คือ 
เป็นวัดราษฎร์ที่สร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี 
เดิมเรียกว่า ‘วัดจอมทอง’ บ้าง ‘วัดเจ้าทอง’ บ้าง หรือ ‘วัดกองทอง’ บ้าง
มูลเหตุที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ 
ทรงสถาปนา “วัดราชโอรสาราม” นั้น 
สืบเนื่องจากบริเวณนี้เป็นนิวาสสถานของพระประยูรญาติ 
ข้างฝ่ายพระบรมราชชนนีของพระองค์ คือ กรมสมเด็จพระศรีสุลาลัย 
(เจ้าจอมมารดาเรียม พระสนมเอกในรัชกาลที่ ๒) 
ธิดาของพระยานนทบุรีศรีมหาอุทยาน (บุญจัน) ซึ่งมีจวนอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา 
อันเป็นที่ตั้งวัดเฉลิมพระเกียรติในปัจจุบัน กับคุณหญิงเพ็ง 
ซึ่งเป็นธิดาของพระยาราชวังสัน (หวัง) บ้านอยู่ข้างวัดหงส์รัตนาราม 
และท่านชู ท่านชูนี้เป็นพระปัยยิกา (ยายทวด) ของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว 
กล่าวกันว่าเป็นธิดาของคฤหบดีชาวสวน มีนิวาสสถานอยู่แถววัดหนัง 
ซึ่งอยู่ทางทิศเหนือของวัดจอมทอง โดยมีคลองบางหว้าคั่นอยู่บริเวณ 
สองฟากคลองด่านและคลองบางหว้า ซึ่งมีวัดอยู่ ๓ วัดคือ วัดจอมทอง 
วัดหนัง และวัดนางนอง จึงมีพวกชาวสวนผู้เป็นวงศาคณาญาติของท่านชู 
อยู่จำนวนมาก และกล่าวได้ว่าบุคคลเหล่านี้ล้วนเป็นพระประยูรญาติ 
ข้างฝ่ายพระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทั้งสิ้น 
พระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์พิเศษสำหรับคนพิเศษ วาระ สร้างปี พ.ศ. 2410
ในปี พ.ศ. 2410 เมื่อสมเด็จโตทำบุญอายุครบ 80 ปี ได้ถวายแม่พิมพ์เพิ่มอีกคือ
◾พิมพ์เส้นด้าย 1 พิมพ์
◾พิมพ์เจดีย์ 1 พิมพ์
◾พิมพ์ใหญ่ ชายจีวรบาง 1 พิมพ์
เนื้อสีน้ำตาลไหม้ ผิวมะกอกสุก ซึ่งมีส่วนผสมของผงใบลานไหม้ และเกสร ๑o๘ จำนวนมาก ทำขึ้นครั้งเดียวขณะเป็นพระราชปัญญาภรณ์
เนื้อพระสมเด็จ หมายถึงส่วนประกอบหลัก และสีขององค์พระ (นอกเหนือจากผงวิเศษทั้ง ๕ และผงปูนเปลือกหอยเผา ที่ต้องมีทุกองค์)
มวลสารที่เป็นส่วนประกอบหลัก 
มวลสารที่ใช้ผสมเป็นเนื้อพระของพระสมเด็จโต ประกอบด้วย
◾ผงพุทธคุณทั้ง ๕ อันได้แก่ 
◾ผงอทธิเจ มีอานุภาพในทางเมตตา มหานิยม
◾ผงปัตถมัง มีอานุภาพในทางคงกระพันชาตรี
◾ผงตรีนิสิงเห มีอานุภาพในทางมหาเสน่ห์
◾ผงพุทธคุณ มีอานุภาพในทางแคล้วคลาด เมตตามหานิยม
◾ผงมหาราช มีอานุภาพในทางมหาอำนาจ เสริมบารมี

ผงเหล่านี้สมเด็จโตเก็บรวบรวมจากผงปูนดินสอ (ดินสอพอง) ที่ท่านเขียนอักขระ ยันต์คาถาลงบนแผ่นกระดานชนวน และได้บริกรรมท่องคาถาในขณะที่ท่านเขียนจนจบแล้ว ก็จะลบอักขระ เลขยันต์ต่างๆ แล้วเริ่มต้นเขียนใหม่เช่นนี้ไปเรื่อยๆ ผงปูนที่ได้จากการลบกระดานชนวน จะเก็บสะสมไว้จนมากพอ ก็จะนำมาเป็นมวลสารหลักของการสร้างพระสมเด็จ
◾ไม้มงคลและว่านต่างๆ (ในบางพิมพ์) ได้แก่ ดอกสวาท ดอกกาหลง ดอกรักซ้อน ดอกกาฝากรัก ดอกชัยพฤกษ์ ดอกว่านนกคุ้ม ดอกว่านนางล้อม ดอกว่านเสน่ห์จันทน์ขาว , เสน่ห์จันทน์แดง ดอกว่านนางกวัก ว่านพระพุทธเจ้าหลวง ใบพลูร่วมใจ ใบพลูสองหาง ผงเกสรบัวทั้ง ๕ และเกษร ๑o๘
◾ดินอาถรรพ์ ได้แก่ดินเจ็ดโป่ง ดินเจ็ดป่า ดินเจ็ดท่า ดินเจ็ดสระ ดินหลักเมือง ดินตะไคร่เจดีย์ ดินตะไคร่รอบโบสถ์ ดินตะไคร่ใบเสมา ดินกระแจะปรุงหอม
◾เปลือกหอย นำมาเผาและตำบดเป็นผงเนื้อปูน และผงเปลือกหอยที่ไม่ผ่านการเผา
◾ใบลานคัมภีร์ที่ชำรุด นำมาเผาและตำบดเป็นผง
◾อาหารและข้าวสุกที่แบ่งมาจากการฉัน ท่านจะนำไปตากแห้ง แล้วนำมาตำจนเป็นเม็ดเล็กๆ กล้วยน้ำหว้าสุก กล้วยหอมจันทน์ (รวมถึงผลขนุนสุก ที่ทำให้เนื้อพระมีสีอมเหลือง) ซึ่งจะนำมาตำรวมกับมวลสารต่าง ๆ เพื่อให้เนื้อพระมีความเหนียวเกาะติดกันในขณะที่กดพิมพ์พระ
◾น้ำพุทธมนต์จากแหล่งต่างๆ
◾น้ำผึ้ง น้ำอ้อยเคี่ยวจนเหนียว หรือน้ำมันตังอิ๊วในการสร้างพระสมเด็จยุคหลัง
◾เกสรและดอกไม้บูชาตากแห้ง นำมาตำบดเป็นผง
◾ผงถ่านที่ได้จากการเผาแม่พิมพ์ไม้ที่แตกชำรุด ผงถ่านก้านธูปและเถ้าธูปบูชาพระ

“วัดราชโอรสาราม ราชวรวิหาร” 
http://www.lib.su.ac.th/web-temple/index.php…

https://www.facebook.com/WatRatchaorotsaram/

http://www.dhammathai.org/wat…/bangkok/watratchaorasaram.php

https://plus.google.com/10709642368611609…/posts/MKbmjkci1ax
https://plus.google.com/107096423686116093823/…/BWXQX8z9MdD

โทร: 092-873-2628

ราคา: 0 บาท

สถานะ: เปิดขาย